20 November 2019
การเรียนในครั้งนี้นะคะ วันนี้เป็นการนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ วันนี้เเต่ละกลุ่มได้เตรียมของเล่นมา ของเล่นวิทยาศาสตร์กลุ่ม 1 เเละเดี่ยว คนละ 1 ชิ้น
ของเล่นกลุ่มมีดังนี้
1. เครื่องกล
กลุ่มที่ 1 บ่อตกปลา
2. เเสงกับเงา
กลุ่มที่ 2 โรงละตรภาพเงา
3. เครื่องใช้ไฟฟ้า
กลุ่มที่ 3 กังหันน้ำ
4. อากาศ
กลุ่มที่ 4 ยิงเป้า
5. หินดินทราย
กลุ่มที่ 5 เครื่องกรองน้ำ
6. เสียง
กลุ่มที่ 6 เครื่องดนตรี กีตาร์
เพื่อนเเต่ละกลุ่มก็นำเสนอออกมาดีของเล่นเเต่ชิ้นดูสวยงามอาจารย์คอยให้คำเเนะนำเพิ่มเติม
รูปภาพบรรยากาศการนำเสนอ
คำศัพท์
VOCABULARY
1.Mechanical เครื่องกล
2.Electronics เครื่องใช้ไฟฟ้า
3.Air อากาศ
4.Water Filter เครื่องกรองน้ำ
5.Musical imstrument เครื่องดนตรี
ผู้บันทึกนางสาว เบญจวรรณ ปานขาว
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 6011200786
สาขาการศึกษาปฐมวัย
27 November 2019
การเรียนในครั้งอาจารย์ให้ทำเเผนผัง เรื่อง เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
1. ส่งเสริมและฝึกให้เด็กรู้จักสังเกต
สมมุติว่าเด็กกำลังสนใจตัวนอนแล้วเด็กเดินมาบอกครูกำลังสนใจอยู่
2. สร้างความชัดเจนว่าวิทยาศาสตร์เป็นของเด็กทุกคน
ครูต้องให้ความมั่นใจว่าวิทยาศาสตร์เท่านั้นเองไม่ควรไปบอก หนูไม่เหมาะกับวิทยาศาสตร์
3. บอก ปกครองจะช่วยให้เด็กเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทั้งนี้เพราะผู้ปกครองเองมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ครูไม่ควรสรุปว่าผู้ปกครองทุกคนรู้แล้วนำได้ของด้วย
4. ปลูกฝังให้เด็กว่าวิทยาศาสตร์จะนำมาซึ่งความสุขความพอใจ
ต้องหาวิธีทำอย่างไรอย่าทำให้เป็นเรื่องยากเช่นไม่ควรบอกว่าต้นไม้เพราะนั่นหมายถึงได้บอกแล้วรู้สึกว่าไม่มีอะไรน่าสนใจ
5. สร้างความมั่นใจในตนเองให้แก่เด็ก
ครูควรทำให้เด็กมีความรู้สึกว่าตัวเองมีค่าเป็นคนความสามารถและหัดให้เด็กรู้จักวิธีค้นหาคำตอบด้วยตัวเอง
บทบาทของผู้อนุบาลในฐานะวิทยาศาสตร์
1. หาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับความรู้ที่เด็กมีครูต้องรู้ว่าเด็กแต่ละคนมีความรู้เบื้องต้นแค่ไหนเพราะแต่ละคนมีพื้นฐานไม่เท่ากัน
2. จัดเตรียมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์เลือกสรรกิจกรรมที่เหมาะสมในการทำกิจกรรม
3. จัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนจัดมุมหรือศูนย์วิทยาศาสตร์ด้วยการคำนึงว่าจะเอาอย่างไรให้เด็กอยากเข้าไปเล่นในมุมนั้นนั้น
4. ควรมีการแนะนำวัสดุอุปกรณ์วิทยาศาสตร์เพื่อให้เด็กสนใจหรืออยากเข้ามาจับต้อง
5. ครูควรส่งเสริมด้านการสำรวจค้นคว้าของเด็กเพื่อนำไปสู่การค้นพบสิ่งใหม่โดยมีวิธีปฏิบัติ
5.1 สังเกตว่าพวกเขากำลังคิดอะไรอยู่
5.2 กระตุ้นให้คิดให้ทดลองใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กคิด
5.3สนับสนุนสิ่งที่ได้จากบทความทดลอง สนับสนุนสิ่งที่ได้จากบทความทดลอง
5.4 สร้างจินตนาการว่าทุกสิ่งมีชีวิตจิตใจและมนุษย์ทำได้
5.5 แลกเปลี่ยนทรรศนะ
6. รักสาทางวิทยาศาสตร์เข้ากับเนื้อหาการเรียนรู้อื่นๆ
7. การสรุปความโดยยอมรับความคิดของเด็กเด็กฝึกให้เด็กเก็บบันทึกข้อมูล
การสอนวิทยาศาสตร์จะต้องเตรียมอะไรบ้าง
1. ประเมินพื้นฐานของเด็ก
ครูควรจะรู้ของเด็กรู้ว่าเด็กรู้แค่ไหนถาม
2. เลือกกำหนดวัตถุประสงค์
ครูต้องมีวัตถุประสงค์ว่าจะสอนให้เด็กเรียนอะไรวัตถุประสงค์ไม่จำเป็นต้องมีหลายอย่างมีเพียงข้อเดียวก็พอ
3. วางแผนจัดประสบการณ์
วางแผนว่าเด็กทำอะไรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เช่นเรียนรู้ว่าอากาศมีน้ำหนักต้องการว่าสามารถอยู่ได้
4.เลือกวัสดุอุปกรณ์
ต้องจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ให้พร้อมเพื่อให้การสอนเป็นไปตามที่วางแผนไว้
5. การสอน
ฟอลตามแผนที่วางไว้และพร้อมที่จะปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์และความสนใจของเด็ก
6. การประเมิน
ประเมินว่าเด็กได้เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์
คำศัพท์
VOCABULARY
1.observe สังเกต
2.Activities กิจกรรม
3.Equipment อุปกรณ์
4.Air อากาศ
5.Direction ทิศทาง
ผู้บันทึกนางสาว เบญจวรรณ ปานขาว
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 6011200786
สาขาการศึกษาปฐมวัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น