วันอาทิตย์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2562

14st learning recor  

                                    27 November 2019 



การเรียนในครั้งอาจารย์ให้ทำเเผนผัง เรื่อง เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์

1. ส่งเสริมและฝึกให้เด็กรู้จักสังเกต
สมมุติว่าเด็กกำลังสนใจตัวนอนแล้วเด็กเดินมาบอกครูกำลังสนใจอยู่
2. สร้างความชัดเจนว่าวิทยาศาสตร์เป็นของเด็กทุกคน
ครูต้องให้ความมั่นใจว่าวิทยาศาสตร์เท่านั้นเองไม่ควรไปบอก หนูไม่เหมาะกับวิทยาศาสตร์
3. บอก ปกครองจะช่วยให้เด็กเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทั้งนี้เพราะผู้ปกครองเองมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ครูไม่ควรสรุปว่าผู้ปกครองทุกคนรู้แล้วนำได้ของด้วย
4. ปลูกฝังให้เด็กว่าวิทยาศาสตร์จะนำมาซึ่งความสุขความพอใจ
ต้องหาวิธีทำอย่างไรอย่าทำให้เป็นเรื่องยากเช่นไม่ควรบอกว่าต้นไม้เพราะนั่นหมายถึงได้บอกแล้วรู้สึกว่าไม่มีอะไรน่าสนใจ
5. สร้างความมั่นใจในตนเองให้แก่เด็ก
ครูควรทำให้เด็กมีความรู้สึกว่าตัวเองมีค่าเป็นคนความสามารถและหัดให้เด็กรู้จักวิธีค้นหาคำตอบด้วยตัวเอง
บทบาทของผู้อนุบาลในฐานะวิทยาศาสตร์
1. หาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับความรู้ที่เด็กมีครูต้องรู้ว่าเด็กแต่ละคนมีความรู้เบื้องต้นแค่ไหนเพราะแต่ละคนมีพื้นฐานไม่เท่ากัน
2. จัดเตรียมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์เลือกสรรกิจกรรมที่เหมาะสมในการทำกิจกรรม
3. จัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนจัดมุมหรือศูนย์วิทยาศาสตร์ด้วยการคำนึงว่าจะเอาอย่างไรให้เด็กอยากเข้าไปเล่นในมุมนั้นนั้น
4. ควรมีการแนะนำวัสดุอุปกรณ์วิทยาศาสตร์เพื่อให้เด็กสนใจหรืออยากเข้ามาจับต้อง
5. ครูควรส่งเสริมด้านการสำรวจค้นคว้าของเด็กเพื่อนำไปสู่การค้นพบสิ่งใหม่โดยมีวิธีปฏิบัติ
5.1 สังเกตว่าพวกเขากำลังคิดอะไรอยู่
5.2 กระตุ้นให้คิดให้ทดลองใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กคิด
5.3สนับสนุนสิ่งที่ได้จากบทความทดลอง สนับสนุนสิ่งที่ได้จากบทความทดลอง
5.4 สร้างจินตนาการว่าทุกสิ่งมีชีวิตจิตใจและมนุษย์ทำได้
5.5 แลกเปลี่ยนทรรศนะ
6. รักสาทางวิทยาศาสตร์เข้ากับเนื้อหาการเรียนรู้อื่นๆ
7. การสรุปความโดยยอมรับความคิดของเด็กเด็กฝึกให้เด็กเก็บบันทึกข้อมูล

การสอนวิทยาศาสตร์จะต้องเตรียมอะไรบ้าง
1. ประเมินพื้นฐานของเด็ก
ครูควรจะรู้ของเด็กรู้ว่าเด็กรู้แค่ไหนถาม
2. เลือกกำหนดวัตถุประสงค์
ครูต้องมีวัตถุประสงค์ว่าจะสอนให้เด็กเรียนอะไรวัตถุประสงค์ไม่จำเป็นต้องมีหลายอย่างมีเพียงข้อเดียวก็พอ
3. วางแผนจัดประสบการณ์
วางแผนว่าเด็กทำอะไรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เช่นเรียนรู้ว่าอากาศมีน้ำหนักต้องการว่าสามารถอยู่ได้
4.เลือกวัสดุอุปกรณ์
ต้องจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ให้พร้อมเพื่อให้การสอนเป็นไปตามที่วางแผนไว้
5. การสอน
ฟอลตามแผนที่วางไว้และพร้อมที่จะปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์และความสนใจของเด็ก
6. การประเมิน
ประเมินว่าเด็กได้เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์


คำศัพท์
 VOCABULARY
1.observe  สังเกต
2.Activities   กิจกรรม
3.Equipment  อุปกรณ์
4.Air  อากาศ
5.Direction  ทิศทาง

ผู้บันทึกนางสาว เบญจวรรณ ปานขาว
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 6011200786
สาขาการศึกษาปฐมวัย





13st learning recor  

                                 20 November 2019 

                             

                         การเรียนในครั้งนี้นะคะ  วันนี้เป็นการนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ วันนี้เเต่ละกลุ่มได้เตรียมของเล่นมา ของเล่นวิทยาศาสตร์กลุ่ม 1 เเละเดี่ยว คนละ 1 ชิ้น  
  
ของเล่นกลุ่มมีดังนี้

1. เครื่องกล

 กลุ่มที่ 1 บ่อตกปลา
2. เเสงกับเงา
 กลุ่มที่ 2 โรงละตรภาพเงา
3. เครื่องใช้ไฟฟ้า
 กลุ่มที่ 3 กังหันน้ำ
4. อากาศ
 กลุ่มที่ 4 ยิงเป้า
5. หินดินทราย
 กลุ่มที่ 5 เครื่องกรองน้ำ
6. เสียง
กลุ่มที่ 6 เครื่องดนตรี กีตาร์

       เพื่อนเเต่ละกลุ่มก็นำเสนอออกมาดีของเล่นเเต่ชิ้นดูสวยงามอาจารย์คอยให้คำเเนะนำเพิ่มเติม



                             รูปภาพบรรยากาศการนำเสนอ








 คำศัพท์
 VOCABULARY

1.Mechanical   เครื่องกล
2.Electronics  เครื่องใช้ไฟฟ้า
3.Air   อากาศ
4.Water Filter   เครื่องกรองน้ำ
5.Musical imstrument  เครื่องดนตรี



ผู้บันทึกนางสาว เบญจวรรณ ปานขาว
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 6011200786
สาขาการศึกษาปฐมวัย

14st learning recor  

                                    27 November 2019 



การเรียนในครั้งอาจารย์ให้ทำเเผนผัง เรื่อง เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์

1. ส่งเสริมและฝึกให้เด็กรู้จักสังเกต
สมมุติว่าเด็กกำลังสนใจตัวนอนแล้วเด็กเดินมาบอกครูกำลังสนใจอยู่
2. สร้างความชัดเจนว่าวิทยาศาสตร์เป็นของเด็กทุกคน
ครูต้องให้ความมั่นใจว่าวิทยาศาสตร์เท่านั้นเองไม่ควรไปบอก หนูไม่เหมาะกับวิทยาศาสตร์
3. บอก ปกครองจะช่วยให้เด็กเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทั้งนี้เพราะผู้ปกครองเองมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ครูไม่ควรสรุปว่าผู้ปกครองทุกคนรู้แล้วนำได้ของด้วย
4. ปลูกฝังให้เด็กว่าวิทยาศาสตร์จะนำมาซึ่งความสุขความพอใจ
ต้องหาวิธีทำอย่างไรอย่าทำให้เป็นเรื่องยากเช่นไม่ควรบอกว่าต้นไม้เพราะนั่นหมายถึงได้บอกแล้วรู้สึกว่าไม่มีอะไรน่าสนใจ
5. สร้างความมั่นใจในตนเองให้แก่เด็ก
ครูควรทำให้เด็กมีความรู้สึกว่าตัวเองมีค่าเป็นคนความสามารถและหัดให้เด็กรู้จักวิธีค้นหาคำตอบด้วยตัวเอง
บทบาทของผู้อนุบาลในฐานะวิทยาศาสตร์
1. หาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับความรู้ที่เด็กมีครูต้องรู้ว่าเด็กแต่ละคนมีความรู้เบื้องต้นแค่ไหนเพราะแต่ละคนมีพื้นฐานไม่เท่ากัน
2. จัดเตรียมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์เลือกสรรกิจกรรมที่เหมาะสมในการทำกิจกรรม
3. จัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนจัดมุมหรือศูนย์วิทยาศาสตร์ด้วยการคำนึงว่าจะเอาอย่างไรให้เด็กอยากเข้าไปเล่นในมุมนั้นนั้น
4. ควรมีการแนะนำวัสดุอุปกรณ์วิทยาศาสตร์เพื่อให้เด็กสนใจหรืออยากเข้ามาจับต้อง
5. ครูควรส่งเสริมด้านการสำรวจค้นคว้าของเด็กเพื่อนำไปสู่การค้นพบสิ่งใหม่โดยมีวิธีปฏิบัติ
5.1 สังเกตว่าพวกเขากำลังคิดอะไรอยู่
5.2 กระตุ้นให้คิดให้ทดลองใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กคิด
5.3สนับสนุนสิ่งที่ได้จากบทความทดลอง สนับสนุนสิ่งที่ได้จากบทความทดลอง
5.4 สร้างจินตนาการว่าทุกสิ่งมีชีวิตจิตใจและมนุษย์ทำได้
5.5 แลกเปลี่ยนทรรศนะ
6. รักสาทางวิทยาศาสตร์เข้ากับเนื้อหาการเรียนรู้อื่นๆ
7. การสรุปความโดยยอมรับความคิดของเด็กเด็กฝึกให้เด็กเก็บบันทึกข้อมูล

การสอนวิทยาศาสตร์จะต้องเตรียมอะไรบ้าง
1. ประเมินพื้นฐานของเด็ก
ครูควรจะรู้ของเด็กรู้ว่าเด็กรู้แค่ไหนถาม
2. เลือกกำหนดวัตถุประสงค์
ครูต้องมีวัตถุประสงค์ว่าจะสอนให้เด็กเรียนอะไรวัตถุประสงค์ไม่จำเป็นต้องมีหลายอย่างมีเพียงข้อเดียวก็พอ
3. วางแผนจัดประสบการณ์
วางแผนว่าเด็กทำอะไรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เช่นเรียนรู้ว่าอากาศมีน้ำหนักต้องการว่าสามารถอยู่ได้
4.เลือกวัสดุอุปกรณ์
ต้องจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ให้พร้อมเพื่อให้การสอนเป็นไปตามที่วางแผนไว้
5. การสอน
ฟอลตามแผนที่วางไว้และพร้อมที่จะปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์และความสนใจของเด็ก
6. การประเมิน
ประเมินว่าเด็กได้เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์


คำศัพท์
 VOCABULARY
1.observe  สังเกต
2.Activities   กิจกรรม
3.Equipment  อุปกรณ์
4.Air  อากาศ
5.Direction  ทิศทาง

ผู้บันทึกนางสาว เบญจวรรณ ปานขาว
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 6011200786
สาขาการศึกษาปฐมวัย







วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

12st learning record

                                  06 November 2019




                     วันนี้อาจารย์ได้พาพวกเรามาที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเสือใหญ่ เพื่อทำกิจกรรมให้เด็ก ๆ เป็นกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสคร์เพื่อให้เด็ก ๆ เกิดการเรียนเรียนรู้ โดยการทดลองของเราจะมีทั้งหมด 3 กลุ่ม และเเบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่มเพื่อไปดูการทดลองและวนจนครบทั้ง 3 กลุ่ม โดยกิจกรรมนี้พี่ ๆ จะเล่าอธิบายและทดลองให้เด็ก ๆ ฟัง จากนั้นก็จะให้เด็ก ๆ ได้ลองทำการทดลอง เเต่ละกลุ่มจะทำการทดลองวิทยาศาสตร์ให้เด็กดู ให้เด็กได้เรียนรู้เเละสังเกตการทดลอง เเต่ละกลุ่มก็จัดเตรียมอุปกรณ์การทดลอง
สัปดาห์นี้มีทั้งหมด3 กลุ่มด้วยกัน
กลุ่มที่ 1 การทดลอง 
กลุ่มที่ 2 การทดลอง การสะท้อนของสี
กลุ่มที่ 3 การทดลอง ภูเขาไฟลาวา






                                          รูปภาพบรรยากาศในการจัดกิจกรรม




                   ในสัปดาห์นี้กลุ่มพี่เลี้ยงจัดเเถวให้เด็กเป็นกลุ่มเพื่อไปดูการทดลองเเต่ล่ะฐาน






รูปภากิจกรรมการทดลอง


ศิลปะสร้างสรรค์ที่ได้ดูการทดลอง



ในสัปดาห์ที่ 2 พวกเราได้เตรียมนิทานมาเเสดงให้เด็กๆดู  
 ให้ความเพลิดเพลิน
 คติสอนใจ 
ความคิดสร้างสรรค์








  คำศัพท์
 VOCABULARY

1.Tale  นิทาน
2.Experience  การจัดประสบการณ์
3.Creativity  ความคิดสร้างสรรค์
4.Creative art  ศิลปะสร้างสรรค์
5.Color reflection  สะท้อนสี


ผู้บันทึกนางสาว เบญจวรรณ ปานขาว
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 6011200786
สาขาการศึกษาปฐมวัย










11st learning record

                                30 October  2019 

                       


                     วันนี้อาจารย์ได้พาพวกเรามาที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเสือใหญ่ เพื่อทำกิจกรรมให้เด็ก ๆ เป็นกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสคร์เพื่อให้เด็ก ๆ เกิดการเรียนเรียนรู้ โดยการทดลองของเราจะมีทั้งหมด 3 กลุ่ม และเเบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่มเพื่อไปดูการทดลองและวนจนครบทั้ง 3 กลุ่ม โดยกิจกรรมนี้พี่ ๆ จะเล่าอธิบายและทดลองให้เด็ก ๆ ฟัง จากนั้นก็จะให้เด็ก ๆ ได้ลองทำการทดลอง เเต่ละกลุ่มจะทำการทดลองวิทยาศาสตร์ให้เด็กดู ให้เด็กได้เรียนรู้เเละสังเกตการทดลอง เเต่ละกลุ่มก็จัดเตรียมอุปกรณ์การทดลอง

สัปดาห์นี้มีทั้งหมด3 กลุ่มด้วยกัน
กลุ่มที่ 1 การทดลอง การเเยกเกลือเเละพริกไทย  
กลุ่มที่ 2 การทดลอง ลูกโป่งพองโต
กลุ่มที่ 3 การทดลอง ชั้นของน้ำมันพืช







                                                        รูปภาพการจัดกิจกรรม



การจะทำกิจกรรมต้องให้เด็กจัดเเถวเป็นกลุ่มเพื่อเข้าฐานเเต่ละฐานเพื่อไปดูการทดลองอย่างเป็นระเบียบโดยมีกลุ่มที่เป็นพี่เลี้ยงคอยอำนวยความสะดวกเเละพาน้องๆเข้าฐานเพื่อดูการทดลอง





รูปภาพกิจกรรมการทดลองเเต่ละฐาน









             ช่วงสุดท้ายที่จัดกิจกรรมเสร็จเเล้วพาเด็กร้องเพลงเคลื่อนไหวร่างกายพูดคุยกับเด็ก






คำศัพท์
 VOCABULARY
1.Body movement  การเคลื่อนไหวร่างกาย
2.Observe  สังเกต
3.Test  การทดลอง
4.Salt  เกลือ
5.Equipment  อุปกรณ์

ผู้บันทึกนางสาว เบญจวรรณ ปานขาว
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 6011200786
สาขาการศึกษาปฐมวัย












วันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2562

10st learning record

                                                   15 October  2019

                                       กิจกรรมที่1
สำหรับการเรียนในครั้งนี้นะคะอาจารย์ให้เตรียมอุปกรณ์มาทดลองจากสัปดาห์ที่ให้เเม่นเพื่อที่เราจะได้ลงพื้นที่ไปจัดกิจกรรมให้เด็กดูค่ะ
กลุ่มของดิฉันทำการทดลองภูเขาไฟลาวา









กิจกรรมที่2
อาจารย์เเจกกระดาษคนละ 1 แผ่น พับครึ่งหน้าเเรกให้เราวาดภาพอะไรก็ได้

ภาพที่ 1



ภาพที่ 2

ให้เราวาดภาพเหมือนเเต่เเตกกันเล็กน้อยพอเปิดภาพออกมาจะเห็นถึงความเเตกต่างว่าภาพเคลื่อนที่ได้






กิจกรรมที่ 3
วาดภาพหน้าเเรกเเละหน้าหลัง



กิจกรรมที่4 
ให้ทำของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ 1 ชิ้น

ในทางวิทยาศาสตร์เเละ วิศวกรรมศาสตร์น้ำหนักหมายถึงหน่วยวัดน้ำหนักบนวัตถุอันเนื่องมาจากความโน้มถ่วง น้ำหนักมีความหมายเดียวกับมวล มักจะถือว่าน้ำหนักก็หมายถึงมวลและใช้หน่วยวัดของมวลเป็นหน่วยวัดของน้ำหนักด้วยเหตุผลว่าความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงบนพื้นผิวโลก อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของวัตถุอยู่นิ่งบนพื้นผิวโลกต่อมวลของวัตถุ



ผู้บันทึกนางสาว เบญจวรรณ ปานขาว
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 6011200786
สาขาการศึกษาปฐมวัย


9st learning record

                                              2 October 2019


 การเรียนในวันนี้นะคะ อาจารย์ให้ศึกษานอกห้องเรียน ให้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ของรุ่นพี่



  การศึกษาปฐมวัย Project เรือ
 ในโปรเจคนี้ ก็จะมี

  1.  แผนการจัดประสบการณ์
  2. แผนการสอนแบบโครงการ
  3.  โครงร่างงานวิจัย
  4.  โครงการพัฒนาผู้เรียน
เเละจะมีพี่ๆเเต่ละจุดให้เราความรู้ในเรื่องต่างๆเเละดิฉันได้เข้าไปดูเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ เด็กปฐมวัย

การจัดประสบการณ์ประกอบไปด้วย

เป็นเรื่องของใช้ส่วนรมกับของใช้ส่วนตัว



1 ผลการเรียนรู้
รู้เข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวกับผลประโยชน์ส่วนรวม
สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้

2 จุดประสงค์การเรียนรู้

เด็กสามารถบอกความหมายของ ของใช้ส่วนตัวและของใช้ส่วนรวมได้
เด็กสามารถคิดแยกแยะระหว่างของใช้ส่วนตนและของใช้ส่วนรวมได้

3 สาระการเรียนรู้


ความรู้

ของใช้ส่วนตัวคือของใช้ที่มีเจ้าของเฉพาะแต่ส่วนของใช้ส่วนรวมได้แก่ของใช้ที่ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกันทุกคนมีสิทธิ์ใช้ทุกคนต้องช่วยกันรักษา

ทักษะกระบวนการสมรรถนะที่เกิด

ความสามารถในการสื่อสารสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ความสามารถในการคิดเชิงเหตุผลโดยอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทำด้วยตนเอง

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ค่านิยม

การปฏิบัติตนเบื้องต้นในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
การมีวินัยในตนเอง

4 การจัดประสบการณ์


 ขั้นตอนการจัดประสบการณ์


  1.     เด็กและครูร่วมกันร้องเพลงของใช้และสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับของใช้ส่วนตัวและส่วนรวม
  2.    ให้เด็กสำรวจสิ่งของเครื่องใช้ที่เป็นของใช้ส่วนตัวและของใช้ส่วนรวมภายในและภายนอกห้องเรียน
  3.      ให้เด็กวาดภาพจากการสำรวจจำนวน 2 ภาพได้แก่ภาพของใช้ส่วนตัวและภาพของใช้ส่วนรวม
  4.          ขออาสาสมัครเด็กออกมานำเสนอภาพว่าจากการสำรวจโดยให้เด็กบอกว่าสิ่งที่ว่าอะไรคือของใช้ส่วนตัวและอะไรคือของใช้ส่วนรวม
  5.  เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความหมายของใช้ส่วนตัว กับของใช้ส่วนรวมโดยครูใช้คำถาม

5.1 เด็กคิดว่าของใช้ส่วนตัวกับของใช้ส่วนรวมมันเหมือนกันหรือไม่อย่างไรของส่วนตัวคือของที่มีเจ้าของเฉพาะแต่ของส่วน รวมได้แก่ของที่ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกันทุกคนมีสิทธิ์ใช้ทุกคนต้องช่วยกันรักษา
6 เด็กและครูร่วมกันอภิปรายสรุปถึงความแตกต่างระหว่างของใช้ส่วนตัวกับของใช้ส่วนรวม




 สื่อการเรียนรู้แหล่งการเรียนรู้


  •  เพลงของใช้
  • ของใช้ส่วนตัวและของใช้ส่วนรวม
  •  กระดาษดินสอสี




5 การประเมินผลการเรียนรู้ 


 5.1 วิธีการประเมิน
สังเกตการตอบคำถามของเด็ก
5.2 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
แบบสังเกตการตอบคำถามของเด็ก
5.3 เกณฑ์การประเมิน
เด็กผ่านการประเมินระดับ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน

6บันทึกหลังการจัดประสบการณ์

รูปภาพสื่อ










 คำศัพท์
 VOCABULARY
1. Benefit  ประโยชน์
2. Project  โปรเจค
3. Leaning Media  สื่อการเรียนรู้
4.Evaluation  การประเมินผล
5. Experience  การจัดประสบการณ์




ผู้บันทึกนางสาว เบญจวรรณ ปานขาว
เลขที่ 10 รหัสนักศึกษา 6011200786
สาขาการศึกษาปฐมวัย







14st learning recor                                        27 November 2019  การเรียนในครั้งอาจารย์ให้ทำเเผนผัง เรื่อง เทคนิคการสอน...